บทความที่ได้รับความนิยม

วันศุกร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2553

ผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแท่น

ผลการดำเนินงาน  ประจำปีงบประมาณ  พ.ศ.  2553
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแท่น
ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา
1. ประวัติความเป็นมาของสถานศึกษา
ชื่อสถานศึกษา     ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแท่น
ที่ตั้งสถานศึกษา ถนนสายหนองเรือ-หนองแวง  หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านแท่น   อำเภอบ้านแท่น
              จังหวัดชัยภูมิ   36190
                                         โทรศัพท์  044 - 886305
สังกัด                     สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด
ชัยภูมิ
                                                สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
                                                สำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ    กระทรวงศึกษาธิการ
ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอบ้านแท่น (เดิม) จัดตั้งขึ้นตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ  เรื่องจัดตั้งศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอ/กิ่งอำเภอ  ลงวันที่ 27  สิงหาคม  2536  มีสำนักงานอยู่เป็นเอกเทศ ที่ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอบ้านแท่น (เดิม)
และตามที่ สำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน ได้ปรับเปลี่ยนภารกิจหน่วยงานใหม่ให้เป็นสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย     ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  พุทธศักราช  2551  ซึ่งประกาศในราชกิจกานุเบกษา  เล่มที่ 125  ตอนที่  41   เมื่อวันที่    3  มีนาคม 2551    และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่  4    มีนาคม  2551   เป็นต้นไปนั้น  ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอบ้านแท่น (เดิม) ได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแท่น สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  (กศน.)   สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษา  เป็นต้นมา
2. ประวัติอำเภอบ้านแท่น 
                อำเภอบ้านแท่น เดิมขึ้นการปกครองกับอำเภอภูเขียว ได้รับการยกฐานะเป็นกิ่งอำเภอเมื่อ พ.ศ. 2508 ประกอบด้วย 3 ตำบล คือ ตำบลสามสวน ตำบลบ้านเต่า ตำบลบ้านแท่น ต่อมาได้รับการจัดตั้งเป็นอำเภอ เมื่อ พ.ศ. 2512 ปัจจุบันแบ่งการปกครองเป็น 5 ตำบล 66 หมู่บ้าน ที่ตั้ง อำเภอบ้านแท่นตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดชัยภูมิ เนื้อที่ มีทั้งหมด 299.46 ตร.กม. หรือ 192,941.87 ไร่ 
3. ลักษณะที่ตั้ง
         อำเภอบ้านแท่นตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด  ห่างจากจังหวัดเป็นระยะทางประมาณ  95  กิโลเมตร 
แผนภาพที่  1.1   แสดงแผนที่อำเภอบ้านแท่น



4. เนื้อที่
          อำเภอบ้านแท่นมีเนื้อที่ประมาณ  299.46 ตร.กม. หรือ 192,941.87 ไร่ 
5อาณาเขตติดต่อ
 อำเภอบ้านแท่นตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอข้างเคียง ดังนี้

6. ลักษณะและภูมิประเทศ
              สภาพพื้นที่เป็นที่ราบสูง อยู่สูงจากระดับน้ำทะเล ประมาณ 240 เมตร ประกอบด้วยพื้นที่ราบเป็นส่วนใหญ่ มีป่าละเมาะทั่วไป และป่าโปร่ง พื้นที่ป่าส่วนใหญ่เป็นป่าแดง พันธุ์ไม้ เช่น พลวง เต็ง รังตะแบก ฯลฯ
ภูเขาสำคัญ คือ ภูเม็ง อยู่ทางทิศตะวันออก และภูตะเภา อยู่ทางทิศนะวันออกเฉียงเหนือ 
 7. ลักษณะภูมิอากาศ
         ลักษณะภูมิอากาศแบบมรสุม มี 3 ฤดู
            ฤดูร้อน เริ่มประมาณเดือนมีนาคม ถึงเดือนมิถุนายน อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี 38.8 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 40.3 องศาเซลเซียส ในเดือนเมษายน
            ฤดูฝน เริ่มประมาณเดือนกรกฎาคม ถึงเดือนตุลาคม ปริมาณน้ำฝนอำเภอบ้านแท่น ปี 2550 = 913.3 มิลลิเมตร , ปี 2551 = 997 มิลลิเมตร , ปี 2552 = 955.1 มิลลิเมตร
            ฤดูหนาว เริ่มประมาณเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ์ อุณหภูมิเฉลี่ยต่ำสุดในเดือนกุมภาพันธ์ 11.9 องศาเซลเซียส
           ประชากร ณ เดือนพฤศจิกายน 2552 จำนวน 45,935 คนเป็นชาย 22,913 คน เป็นหญิง 23,022 คน มี 10,789 ครัวเรือน (ในเขตเทศบาลตำบลบ้านแท่น ประชากร 4,023 คน ) ความหนาแน่นของประชากร 165 คน/ตารางกิโลเมตร
8. การปกครอง
                8.1  การปกครองส่วนภูมิภาค
                           มีหน่วยงานบริหารราชการส่วนภูมิภาค   6   หน่วยงาน   ประกอบด้วย
-                   ที่ทำการปกครองอำเภอ                
-                   สำนักงานที่ดิน
-                   สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ
-                   สำนักงานสาธรณสุขอำเภอ
-                   สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ
-                   หน่วยสัสดีอำเภอ
                       





 นอกจากนั้นยังมีหน่วยงานบริหารราชการส่วนกลางในพื้นที่อีก  5 หน่วยงาน  ประกอบด้วย       
-                   สำนักงานสรรพกรเขตพื้นที่
-                   สถานีตำรวจภูธรอำเภอบ้านแท่น
-                   ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแท่น
-                   โรงพยาบาลบ้านแท่น
-                   สำนักงานประมงอำเภอ

  8.2  การปกครองท้องที่
อำเภอบ้านแท่นแบ่งเขตการปกครองตาม ...ลักษณะปกครองท้องที่
 ..2457  ออกเป็น 1 เทศบาล   5  ตำบล  66  หมู่บ้าน  ดังนี้ 
                1. เทศบาลตำบลบ้านแท่น
2. บ้านแท่น (Ban Thaen)
3. สามสวน (Sam Suan)
4. สระพัง (Sa Phang)
5. บ้านเต่า (Ban Tao)
6. หนองคู (Nong Khu)
8.3  การปกครองท้องถิ่น 
ท้องที่อำเภอบ้านแท่นประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 6 แห่ง ได้แก่
  • เทศบาลตำบลบ้านแท่น ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลบ้านแท่น
  • องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแท่น ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบ้านแท่น
  • องค์การบริหารส่วนตำบลสามสวน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลสามสวนทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลสระพัง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลสระพังทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเต่า ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบ้านเต่าทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลหนองคู ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองคูทั้งตำบล
 8.4  หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ  จำนวน  3  แห่ง  ประกอบด้วย
-  สำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอบ้านแท่น
-  ธนาคารกรุงไทย  สาขาบ้านแท่น
-  ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์  สาขาบ้านแท่น

9.  ประชากร
                      ประชากร ณ เดือนพฤศจิกายน 2552 จำนวน 45,935 คนเป็นชาย 22,913 คน เป็นหญิง 23,022 คน มี 10,789 ครัวเรือน (ในเขตเทศบาลตำบลบ้านแท่น ประชากร 4,023 คน ) ความหนาแน่นของประชากร 165 คน/ตารางกิโลเมตร

10.  เศรษฐกิจ
            อาชีพหลัก ได้แก่
              1. เกษตรกรรม ทำนา ทำไร่อ้อย ร้อยละ 87
              2. ค้าขาย ร้อยละ 8
              3. อื่นๆ ร้อยละ 5
              พืชเศรษฐกิจ ได้แก่ อ้อย กระหล่ำปลี ถั่วเหลือง ส้มโอ
              สัตว์เศรษฐกิจ ได้แก่ วัว
สุกร
11ผลิตภัณฑ์โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ มีจำนวน 5 รายการ ได้แก่
              1. ผ้าไหมมัดหมี่ตำบลสามสวน ได้ลงประชาสัมพันธ์ใน Internet ที่
                  Website www.THAITAMBON.COM
              2. ผ้าไหมมัดหมี่ตำบลบ้านแท่น ได้ลงประชาสัมพันธ์ใน Internet ที่
                  Website www.THAITAMBON.COM
              3. ส้มโอตำบลบ้านแท่น ได้ลงประชาสัมพันธ์ใน Internet ที่
                  Website www.THAITAMBON.COM
              4. ผ้าไหมมัดหมี่ตำบลสระพัง ได้ลงประชาสัมพันธ์ใน Internet ที่
                  Website www.THAITAMBON.COM
              5. ผ้าไหมมัดหมี่ตำบลบ้านเต่า ได้ลงประชาสัมพันธ์ใน Internet ที่
                  Website www.THAITAMBON.COM








12. การศึกษา    
จำนวนสถานศึกษาในสังกัดต่างๆ  มีดังนี้ 

ตารางที่  1.1   แสดงจำนวนสถานศึกษาสังกัดต่าง ๆ
สังกัด
จำนวนโรงเรียน (แห่ง)
จำนวนห้อง (ห้อง)
ครู
(คน)
นักเรียน(คน)
สำนักงานการศึกษาพื้นฐาน
กศน.อำเภอ
31
1
-
-
-
15
-

รวม
32




13.  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  มี  6   แห่ง  คือ
13.1  องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแท่น                     3   แห่ง
13.2  องค์การบริหารส่วนตำบลสามสวน                      1   แห่ง
13.3  องค์การบริหารส่วนตำบลสระพัง                      1   แห่ง
13.4  องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเต่า                     3   แห่ง
13.5  องค์การบริหารส่วนตำบลหนองคู                      2   แห่ง
13.6  เทศบาลตำบลบ้านแท่น                                         1  แห่ง

14.  สาธารณสุข
         สาธารณสุข
              สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ
                - โรงพยาบาล ขนาด 30 เตียง จำนวน 1 แห่ง

                - สำนากงานสาธารณสุขอำเภอ จำนวน 1 แห่ง
                - สถานีอนามัย จำนวน 6 แห่ง
        บุคลากรทางการแพทย์ประกอบด้วย
                -แพทย์ จำนวน 3 คน
                -ทันตแพทย์ จำนวน 2 คน
                - เภสัชกร จำนวน 2 คน
                -พยาบาล จำนวน 28 คน
                -เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน จำนวน 28 คน
 

15.  การรักษาความสงบเรียบร้อย
            มีกำลังเจ้าหน้าที่ในการรักษาความสงบเรียบร้อย คือกำลังตำรวจที่ประจำอยู่ ณ สถานีตำรวจภูธรอำเภอบ้านแท่นจำนวน68นาย
               - ผรส. จำนวน 22 คน
               - อป.พร. จำนวน 163 คน
               - อส. จำนวน 7 คน
               - ทสปช. จำนวน 315 คน
               - ลส. ชบ จำนวน 355 คน

16.  การคมนาคม
16.1  การคมนาคมทางบก
                   อำเภอบ้านแท่นมีเส้นทางการคมนาคมสำคัญติดต่อและขนส่งสินค้าภายในอำเภอและระหว่างอำเภอต่างๆ  ดังนี้
-  ทางหลวงแผ่นดิน  หมายเลข  2187  แยกจากทางหลวงแผ่นดิน  หมายเลข 201  (อำเภอ
ภูเขียว)  และหมายเลข 12(อำเภอหนองเรือ)  จากอำเภอบ้านแท่นถึงจังหวัดชัยภูมิ   ระยะทางประมาณ  95  
-  ถนนเชื่อมระหว่างตำบล  5  ตำบล  ส่วนใหญ่จะเป็นถนนที่มีผิวจราจรคอนกรีต ลาดยางและหินคลุกใช้ได้ทุกฤดูกาล  แต่มีสภาพคับแคบ
16.2  การคมนาคมทางน้ำ 
ปัจจุบันการคมนาคมทางน้ำไม่นิยมใช้เพราะแม่น้ำลำคลองมีสภาพตื้นเขิน ไม่สะดวกในการเดินทาง  ส่วนการสัญจรทางบกสามารถไปมาหาสู่กันได้ทุกหมู่บ้านทุกตำบลและทุกฤดูกาล 

2. ผลการวิเคราะห์ศักยภาพสถานศึกษา
2.1 ผลการวิเคราะห์ SWOT
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแท่น ได้ดำเนินการวิเคราะห์ศักยภาพสถานศึกษาหาจุดแข็ง  จุดอ่อน  โอกาส  และอุปสรรคของสถานศึกษาโดยใช้วิธีการวิเคราะห์   SWOT Analysis  ในการตรวจสอบเพื่อหาวิธีการที่จะทำงานให้ไปสู่ความสำเร็จ ตามเป้าหมายที่วางไว้   ตลอดจนหาแนวทางในการควบคุมจุดอ่อน  ไม่ให้เกิดขึ้นหรือเกิดขึ้นน้อยที่สุด ซึ่งจะช่วยให้สถานศึกษามีทิศทางในการทำงานและมีความมั่นใจมากขึ้น   โดยแบ่งออกเป็น ปัจจัยภายใน และปัจจัยภายนอก ดังตารางต่อไปนี้



ตารางที่  1.2  แสดงข้อมูลการวิเคราะห์ศักยภาพสถานศึกษา
ปัจจัยภายใน การวิเคราะห์ จุดแข็งและจุดอ่อน

ปัจจัย
S = Strengths
W = Weaknesses
1. ด้านโครงสร้างและนโยบายของสถานศึกษา
1. การปฏิบัติงานสอดคล้องกับนโยบายของจังหวัดและต้นสังกัด
2. นโยบายการกระจายอำนาจทำให้สถานศึกษา เกิดความคล่องตัวใน  การทำงานมากขึ้น
3. มีการทำงานเป็นทีม   ให้ความร่วมมือช่วยเหลือสนับสนุนซึ่งกันและกัน    ทุกคนเป็นทั้งผู้นำและผู้ตามในเวลาเดียวกัน
4. หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของสังคม

1. นโยบายมีการเปลี่ยนแปลงตลอดทำให้การดำเนินงานไม่ ต่อเนื่อง
2. การบริหารงานไม่ชัดเจนเกิดการทำงานที่ซับซ้อน
3. ขาดการควบคุมการปฏิบัติงาน ที่ให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้

 2. ด้านผลผลิตและการบริการ

1. เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในเชิงรุก
2. การให้บริการในรูปแบบที่หลากหลาย
ทั้งสายสามัญ สายอาชีพและอัธยาศัย
อย่างทั่วถึงทุกตำบล
3. มีการหมุนเวียนสื่อไปตามศูนย์การเรียนเพื่อให้นักศึกษาและประชาชนได้ศึกษาค้นคว้า
4. เต็มใจให้บริการด้วยความเสมอภาค

1. ไม่สามารถสนองตอบทุกความต้องการของชุมชน  ได้ตามเงื่อนไข  งบประมาณ
2. หลักสูตรไม่มีการพัฒนาจากสภาพปัญหาและความต้องการที่แท้จริง
3. นักศึกษาสายสามัญ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนค่อนข้างต่ำ       
4. ขาดการติดตามผู้เรียนอย่างต่อเนื่องภายหลังจบการศึกษา
5. นักศึกษาสายอาชีพ ส่วนใหญ่ฝึกอบรมแล้ว ไม่ได้นำความรู้ไป ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันอย่างเต็มที่






ปัจจัย
S = Strengths 
W = Weaknesses  
3. ด้านบุคลากร
1. มีมนุษยสัมพันธ์ สามารถปรับตัว เข้ากับสภาพแวดล้อมและสถานการของชุมชนได้เป็นอย่างดี
2. มีความสามารถในการ ประสานงานร่วมกับภาคีเครือข่ายเป็นอย่างดี
3. ปฎิบัติตนเหมาะสม มีความเสียสละ  อดทน ทำให้งานมีประสิทธิภาพ ผู้รับบริการเกิดความพึงพอใจ
4. บุคลากรส่วนมากเป็นคนในพื้นที่ ทำให้รู้พื้นที่เป็นอย่างดี
5.บุคลากร ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
6. บุคลกรของหน่วยงานจบมาจากหลากหลายสาขาอาชีพ

1. บุคลากรบางส่วนยังขาดความรู้
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีทำ
 ให้ปฏิบัติงานไม่คล่องตัวเท่าที่ควร
2. บุคลากรบางส่วนขาดความรอบคอบ
    ในการปฏิบัติงาน

4. ด้านการเงิน

1. มีการเบิกจ่ายงบประมาณตามแผนที่วางไว้
2. ได้รับการสนับสนุนจากภาคีเครือข่าย ในการจัดกิจกรรมบางส่วน
3.  ได้รับการจัดสรรงบประมาณใน
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

1. เงินรายได้สถานศึกษามีน้อยขาด ความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน ทำให้กิจกรรมขาดความต่อเนื่อง
2. กฎระเบียบข้อบังคับของทางราชการ ไม่เอื้อต่อการปฏิบัติงานในบาง กิจกรรม
3. ขาดสื่อ อุปกรณ์ เทคโนโลยีที่ทันสมัย
    ในการปฏิบัติงาน
4. ครุภัณฑ์ / อุปกรณ์ ในการเรียนการ
    สอนวิชาชีพไม่เพียงพอ






ปัจจัย
S = Strengths 
W = Weaknesses  
5. ด้านการบริหารจัดการ
1. มีการประสานงานที่ดีระหว่างหน่วยงาน ภาครัฐ เอกชน   เครือข่ายในพื้นที่ทำให้การทำงานประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์
2. การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมในรูปแบบของคณะกรรมการ
3. บุคลากรมีส่วนร่วมในการวางแผนการกำหนดนโยบาย และกิจกรรมในการทำงาน
4. มีแผนงานเป็นเครื่องมือในการบริหารงาน
1. ระยะเวลาดำเนินการจัดกิจกรรมไม่สอดคล้องกับความตัองการของชุมชน
2. ขาดการติดตามประเมินผลภายหลังการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
3. ความแตกต่างของกลุ่มเป้าหมายทำให้จัดการเรียนการสอนต่อการเพิ่มประสิทธิภาพไม่ทั่วถึง


6. ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน

1. มีแผนการสอนแบบบูรณาการ
2. มีแหล่งศึกษาค้นคว้าที่หลากหลาย
3. มีการจัดการเรียนการสอนเน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ
4. การจัดการเรียนการสอนเน้นความ แตกต่างระหว่างบุคคล
5. การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายสอดคล้องกับผู้เรียน
6. ส่งเสริมกระบวนการคิดเป็น เน้นให้ผู้เรียนคิดเป็น  ทำเป็น  และแก้ปัญหาเป็น


1. นักศึกษามาพบกลุ่มไม่สม่ำเสมอ
2. ครูคนเดียวไม่สามารถสอนได้อย่างมีคุณภาพทุกวิชา
3. ขาดกระบวนการแนะแนวการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและไม่ทั่วถึง










ตารางที่  1.2  แสดงข้อมูลการวิเคราะห์ศักยภาพสถานศึกษา(ต่อ)
ปัจจัยภายนอก    การวิเคราะห์ โอกาสและอุปสรรค
ปัจจัย  
O = Opportunities  
T   = Threats 
1. ปัจจัยด้านสังคมและ วัฒนธรรม
1. สังคมชนบททำให้สามารถจัดกิจกรรมได้สะดวก
2. สถานศึกษาเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของชุมชน
3. ประชาชนต้องการได้รับการศึกษาเพิ่มขึ้น
4. มีภูมิปัญญาและแหล่งเรียนรู้ครอบคลุมทุกพื้นที่ทำให้ ผู้รับบริการได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
1. สภาพสังคมเปลี่ยนไปทำให้วิถีชีวิต เปลี่ยน
2. ขาดการปฏิสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานกับชุมชนอย่างต่อเนื่อง
3. การประชาสัมพันธ์ยังไม่ครอบคลุมทุกกิจกรรมละเป้าหมาย
4. ผู้เรียน/ผู้รับบริการ ยังขาดความ เข้าใจงาน ของศูนย์ กศน.
5. ประชากรบางส่วนมีความจำเป็นในการประกอบอาชีพสูง   จนไม่มีเวลาให้กับการศึกษา
6. สถานะและบทบาททางสังคมมีผลต่อการเข้าร่วมกิจกรรมในบางกิจกรรม  
2. ปัจจัยด้านเทคโนโลยี
1. มีเทคโนโลยีที่หลากหลายทำให้การประสานงานได้สะดวก รวดเร็วและทันเวลา
1. มีหอกระจายข่าวเกือบทุกหมู่บ้านแต่ยังไม่ได้ใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่
3. ปัจจัยด้านกฎหมายการเมือง
1. พ.ร.บ การศึกษาเปิดโอกาสให้ท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษามากขึ้น ทำให้เกิดการระดมความคิดในการพัฒนาการศึกษา
2. ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย องค์กรท้องถิ่น ประชาชนหรือชุมชนบางส่วนในด้านการจัดการศึกษา
1. มีการแบ่งพรรค แบ่งพวก ขาดความสามัคคีในชุมชน จากปัญหาด้านการเมืองทำให้การทำงานไม่คล่องตัว
2. ผู้นำบางส่วน ไม่เห็นความสำคัญ และไม่สนับสนุนการศึกษา
4. ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
/สิ่งแวดล้อม
1. ผู้เรียน/ผู้รับบริการ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และอยู่ในวัยทำงานที่มีรายได้น้อย ทำให้สามารถเข้าไปสนับสนุนส่งเสริมการทำเกษตรอินทรีย์  เกษตร ผสมผสาน  การปลูกผักปลอดสารพิษ
1. ปัญหาการว่างงานทำให้ขาดความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. ประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้างจึงไม่ค่อยไม่มีเวลาให้การศึกษา
3. ปัญหาจากภัยธรรมชาติ   
4. ปัญหาแรงงานย้ายถิ่น
5. วิกฤติทางเศรษฐกิจทำให้การระดมทรัพยากรจากภายนอกลดลง
2.2 แนวทางการดำเนินงานของสถานศึกษา
              1) แสวงหาความร่วมมือการดำเนินจากภาคีเครือข่าย ทั้งด้านบุคลากร งบประมาณ และ
วัสดุอุปกรณ์  โดยจัดทำข้อตกลงความร่วมมือในการดำเนินงาน(MOU)้านบุคลากร งบประมาณ และ
ซ้อน
              2) ขอรับการสนับสนุนงบประมาณและทรัพยากรจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชน
              3) ใช้กระบวนการดำเนินงานแบบบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่ภารกิจงานเดียวกัน
              4) จัดทำแผนการดำเนินงานที่สามารถยืดหยุ่นได้ตามสถานการณ์
              5) พัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง
3. ทิศทางการดำเนินงาน
              3.1 ปรัชญาสถานศึกษา
                    จัดการศึกษาเพื่อมุ่งเน้น  คิดเป็น  พอเพียง   และพัฒนาที่ยั่งยืน
3.2 วิสัยทัศน์ (Vision)
       ประชาชนมีวัฒนธรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง  ชุมชนเข้มแข็ง ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ตลอดชีวิต  ที่มีคุณภาพ
3.3 พันธกิจ (Mission)
                       1.  จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน  ระดับประถมศึกษา  ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับ
                       มัธยมศึกษาตอนปลาย
      2. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ   ทักษะอาชีพ  และพัฒนาอาชีพ
      3. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต  ค่ายทักษะชีวิต  ทักษะชีวิต บนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง
      4. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน    วิสาหกิจชุมชน
                      5. จัดกิจกรรมภาคีเครือข่าย
                3.4 เป้าประสงค์
1. เพื่อให้เกิดวัฒนธรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องให้กับประชาชนและชุมชน
2. เพื่อนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาสู่การปฏิบัติ
3. เพื่อจัดทำให้เกิดแหล่งเรียนรู้ตำบลต่าง ๆ ในอำเภอบ้านแท่น
4. เพื่อให้เครือข่ายได้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษานอกโรงเรียน





3.5  กลยุทธ์การดำเนินงาน
              ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแท่น  ได้กำหนดกลยุทธ์ในการดำเนินงานตามแผน ดังนี้
                1. การประชาสัมพันธ์ที่หลากหลายรูปแบบและทั่วถึงกลุ่มเป้าหมาย
                        กลยุทธ์
                        1.1 การศึกษาสายสามัญ
                                1.1.1 ปลูกฝังคุณธรรมพื้นฐาน  8  ประการ
                                1.1.2 จัดทำแผนการเรียนรู้รายบุคคล
1.1.3 ขยายช่องทางการเรียนรู้ ขยายและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้  (สอนเสริม,พบผู้รู้,ออนไลน์)
                                1.1.4 ลุยถึงที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายอย่างทั่วถึง
                        1.2  การศึกษาสายอาชีพ/พัฒนาสังคมและชุมชน
                                1.2.1 ลุยถึงที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายอย่างทั่วถึง
                                1.2.2 ตอบโจทย์ในใจผู้เรียน
1.2.3 ขยายช่องทางการเรียนรู้ ขยายและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 
1.2.4 จัดหาวิทยากรที่มีความรู้ ประสบการณ์และมีเทคนิคในการถ่ายทอดองค์ความรู้
1.2.5 ส่งเสริมสนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายร่วมจัดการศึกษา
1.2.6 การสร้างแรงจูงใจ
1.2.7 พัฒนาบุคลากรด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้
1.2.8 ระดมทุนทางสังคมและทรัพยากรมาสนับสนุนการจัดกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียน
      1.3 การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
     1.3.1 ตอบโจทย์ในใจผู้เรียน
     1.3.2 จัดหาวิทยากรที่มีความรู้ ประสบการณ์และมีเทคนิคในการถ่ายทอดองค์ความรู้
     1.3.3 ระดมทรัพยากรจากภาคีเครือข่าย
     1.3.4 การสร้างแรงจูงใจ
                       1.4 การศึกษาตามอัธยาศัย
                              1.4.1 จัดกิจกรรมสัญจร (ลุยถึงที่)
                              1.4.2 การหมุนเวียนสื่อ
1.4.3 จัดกิจกรรมหลากหลายโดนใจผู้เรียน                
1.4.4 บริการเปี่ยมคุณภาพ
1.4.5 ปรับภูมิทัศน์บริเวณภายในและภายนอก
            
2. การทำงานเป็นทีม
                       2.1 จัดตั้งทีมงาน                                       
       2.2  แบ่งตามบทบาทหน้าที่ความรู้ความสามารถ
                       2.3  พัฒนาศักยภาพและฝึกอบรมให้กับบุคลากร
                3. มีมนุษยสัมพันธ์และเป็นนักประสานงานที่ดี
                      3.1 พัฒนาบุคลิกภาพ
                      3.2  ฝึกอบรม
             4. นิเทศติดตาม ประเมินผล และรายงานสรุปผลการดำเนินงาน การศึกษานอกโรงเรียน
      4.1 เผยแพร่ให้สาธารณชนทราบ เช่น จัดทำเอกสาร / แผ่นพับ การจัดนิทรรศการ เป็นต้น
3.6 จุดเน้นการดำเนินงานปีงบประมาณ  2553
                    ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแท่น ได้กำหนดนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสถานศึกษาประจำปีงบประมาณ 2553  สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 และแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ.2551 2554)  รายละเอียด  ดังนี้
      1) นโยบายด้านการศึกษานอกระบบ
                                (1) การส่งเสริมการรู้หนังสือ  โดยสำรวจผู้ไม่รู้หนังสือประชากรวัยแรงงานในพื้นที่ เพื่อนำข้อมูลมาวางแผนการดำเนินงานจัดให้ผู้ไม่รู้หนังสือได้เรียนรู้จากหลักสูตร และสื่อที่เหมาะสมกับสภาพของกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่ม 
                                (2) การยกระดับคุณภาพการศึกษาของประชากรวัยแรงงาน       มุ่งเน้นให้กลุ่มเป้าหมายที่ลง ทะเบียนเรียนได้เรียนในรูปแบบที่เหมาะสมกับสภาพและความต้องการของตนเอง โดยมีอัตราการคงอยู่ไม่ น้อยกว่าร้อยละ 80 มีผลสัมฤทธิ์ในหมวดวิชาหลักไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60  และอัตราการจบร้อยละ  70  ในแต่ละ ภาคเรียน  ให้ความสำคัญกับการเทียบโอนความรู้ประสบการณ์และการประสานความร่วมมือในการจัดการศึกษาร่วมกับภาคีเครือข่าย
                                (3) การศึกษาต่อเนื่องเพื่อการพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต มุ่งเน้นการจัดการศึกษาต่อเนื่อง โดยเฉพาะหลักสูตรระยะสั้นและการฝึกอบรมที่สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย  โดยมุ่งให้ สามารถนำความรู้  ความสามารถที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้จริง  รวมทั้งมีคลังหลักสูตรที่หลากหลาย  เพื่อ รองรับการให้บริการทางการศึกษาแก่กลุ่มเป้าหมาย
                       2)  นโยบายด้านการศึกษาตามอัธยาศัย
                                (1) การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในชุมชน มุ่งเน้นการประสานความร่วมมือกับแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ในชุมชนเพื่อจัดทำฐานข้อมูลแหล่งเรียนรู้ และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพ การดำรงชีวิตการสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณี และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
                                (2) การพัฒนาห้องสมุดประชาชน   มุ่งเน้นให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษาในหลักสูตรต่าง ๆ ของสถานศึกษา  และพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงความรู้จากภายนอก ความรู้สากล และข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการการเรียนรู้ของประชาชนในการพัฒนาอาชีพ และการดำเนินชีวิต โดยพัฒนาให้เป็นห้องสมุดมีชีวิต
                                (3) การพัฒนารูปแบบและวิธีการ  ส่งเสริมพัฒนารูปแบบ และวิธีการเรียนรู้การศึกษาตามอัธยาศัยให้มีความหลากหลาย  เพื่อกระตุ้นส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต

                      3) นโยบายด้านการศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชน
                                (1) ศูนย์การเรียนชุมชน  มุ่งเน้นการพัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนให้มีความพร้อมในการให้บริการการเรียนรู้  ให้เป็นฐานของการพัฒนากระบวนการเรียนรู้  เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน   และเป็นศูนย์ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภายในชุมชน 
                                (2) อาสามัครส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย       มุ่งเน้นส่งเสริมให้ผู้มีจิตอาสา  ตลอดจนผู้รู้ หรือภูมิปัญญาท้องถิ่นได้อาสาเข้ามามีบทบาทในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน  เป็นผู้สื่อสารข้อมูลความรู้ที่เป็นประโยชน์แก่ประชาชนนำเสนอความต้องการเรียนรู้ และการพัฒนาชุมชน โดยเป็นทีมร่วมดำเนินงานกับครูกศน.
                                (3) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชุมชน  มุ่งเน้นการออกแบบการเรียนรู้ของชุมชน โดยนำปัญหาของชุมชนเป็นข้อมูลในการวางแผนการดำเนินงาน  พัฒนาความสามารถในการแสวงหาความรู้ของกลุ่มเป้าหมาย  สร้างเสริมกระบวนการเรียนรู้เพื่อการแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชน โดยนำหลักการจัดการความรู้ และการวิจัยชุมชนบูรณาการในการจัดกระบวนการเรียนรู้  เพื่อนำไปสู่การแก้ปัญหาและการพัฒนาชุมชนและสังคมโดยรวม
      4 ) นโยบายด้านการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
                                (1) การพัฒนาวิชาการ  มุ่งเน้นการพัฒนาหลักสูตร  สื่อ  รูปแบบ  และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน  โดยใช้การวิจัยเป็นพื้นฐานของการพัฒนาและมุ่งหมายให้งานวิชาการเป็นพื้นฐานของการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ
                                (2) การพัฒนาบุคลากร  ส่งเสริมให้บุคลากรทุกระดับได้พัฒนาความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงาน  เพื่อเป็นบุคลากรที่ปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ 
                                (3) การนิเทศการศึกษา ให้ความสำคัญกับการนิเทศงาน  เพื่อนำข้อมูลที่ได้รับจาการนิเทศมาพัฒนา   ปรับปรุงการดำเนินงานของสถานศึกษาให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น
                                (4) ประกันคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย     มุ่งเน้นจัดระบบการประกันคุณภาพให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  โดยเฉพาะ การเตรียมความพร้อมและการจัดทำรายงานการประเมินตนเองที่ตรงกับสภาพจริงของสถานศึกษา  ทั้งนี้  เพื่อส่งผลให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
                       5) นโยบายด้านการสนับสนุนภาคีเครือข่าย
                                (1) การประสานงานกับคณะกรรมการ  มุ่งเน้นประสานการทำงานร่วมกับคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องตามบทบาทหน้าที่ เพื่อสร้างความเข้าใจงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  เสริมสร้างโอกาสและบทบาทในการดำเนินงานร่วมกัน
                                (2)การสร้างเสริมบทบาทของภาคีเครือข่าย  มุ่งเน้นการสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทุกระดับ ทุกประเภท ให้เข้ามามีบทบาทในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตลอดจนให้การสนับสนุนการดำเนินของสถานศึกษา
                        6) นโยบายด้านการบริหาร
                                (1) การบริหารการศึกษา  มุ่งเน้นการบริหารตามหลักธรรมมาภิบาล  เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามหลักนิติธรรม  หลักคุณธรรมหลักความโปร่งใสตรวจสอบได้  หลักการมีส่วนร่วม  หลักความรับผิดชอบ  และหลักความคุ้มค่าเกิดประโยชน์อย่างสูงสุด
                                2) การบริหารภาครัฐ  ให้ความสำคัญกับการบริหารตามหลักการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)  โดยเฉพาะการสร้างวัฒนธรรมการทำงานและค่านิยมร่วมของสถานศึกษา
                                3)   ระบบฐานข้อมูล  ให้ความสำคัญกับการพัฒนาระบบฐานข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการ       โดยเฉพาะข้อมูลนักศึกษาและผู้เรียนในหลักสูตรต่าง ๆ  ข้อมูลสถานศึกษา  ข้อมูลศูนย์การเรียนชุมชน   ตลอดจนส่งเสริมให้มีการเชื่อมโยงระบบข้อมูลข่าวสารเพื่อการบริหารจัดการ และจัดให้มีการบริการข้อมูล
สารสนเทศและสนับสนุนการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้












โครงการที่ดำเนินงานในปีงบประมาณ  2553

โครงการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แสดงรายละเอียดโครงการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.              สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ในแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ  พ.ศ.  2553
1.  ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  1 การสร้างโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
2.  ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  2 การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
3.  ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  4  การพัฒนาการศึกษาเพื่อความมั่นคงของรัฐ
4.  ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  7  การป,กจิตสำนึกและกระตุ้นให้เกิดการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทย
2.               สอดคล้องกับนโยบายเร่งด่วน/นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน  ประจำปีงบประมาณ  พ.ศ.  2553  ของสำนักงาน  กศน.  คือ
1. โครงการการสนับสนุนการจัดการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย  15  ปี  อย่างมีคุณภาพ
2. การยกระดับคุณภาพการศึกษาตามอัธยาศัย
3. เร่งดำเนินการเพื่อรองรับการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง  (พ.ศ. 2552-2561)
4. เร่งดำเนินการส่งเสริมการอ่านให้เป็นวาระแห่งการชาติเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต  ตามมติคณะรัฐมนตรี  เมื่อถึงวันที่ 5 สิงหาคม  2552
5. เร่งรัดการจัดทำแบบเรียนและสื่อตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  2551  เพื่อเตรียมการรับรองรับภาคเรียนที่ 1/2553
6. มุ่งพัฒนาสถานศึกษาสู่คุณภาพและมาตรฐานตามนโยบายการพัฒนาสถานศึกษา  3 D
3.              หลักการและเหตุผล
1. ดำเนินการให้ผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานได้รับการสนับสนุนค่าเล่าเรียน  ค่าจัดซื้อหนังสือเรียน  และค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างครอบคลุมและทั่วถึง  เพื่อเพิ่มโอกาสในการรับการศึกษาที่มีคุณภาพโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
2.มุ่งเน้นจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและปรับพื้นฐานการศึกษาของผู้เรียนโดยจัดกิจกรรมค่ายวิชาการ  กิจกรรมเรียนปรับพื้นฐาน  กิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ  ( ICT)  และกิจกรรมจัดหาสื่ออุปกรณ์การสอนของครู  หรือหนังสือที่นอกเหนือจากแบบเรียน  รวมทั้งสร้างโอกาสในการส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย
3.จัดหาหนังสือการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพตามที่สำนักงาน  กศน.  ให้การรับรองคุณภาพในอัตราร้อยละ  60  ของจำนวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน  พร้อมทั้งจัดให้มีระบบหมุนเวียนหนังสือ  เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนสามารถเข้าถึงการใช้บริการหนังสืออย่างเท่าเทียมกัน





4.              วัตถุประสงค์
1.  นักศึกษามีผลการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร/กิจกรรมของสถานศึกษา
2.  นักศึกษามีความสามารถในการแสวงหาความรู้
3.  นักศึกษามีความสามารถในการคิด  วิเคราะห์และตัดสินใจ
4.  นักศึกษามีความสามารถในการเลือกใช้แหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสม
5.  นักศึกษามีทักษะในการสื่อสาร
6.  นักศึกษามีคุณธรรม  จริยธรรม
7.  นักศึกษามีจิตสำนึกสาธารณะ
8.  นักศึกษามีปฏิบัติตนตามระบอบประชาธิปไตย
9.  นักศึกษามีสุขภาพและสุขภาพจิตที่ดี

เป้าหมายเชิงปริมาณและผลการดำเนินงาน
ข้อมูลการจัดกิจกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน
                                ปัจจุบันศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแท่น  จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้แก่นักศึกษา  หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช 2544 และหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551   ซึ่งมีนักศึกษาแยกตามระดับการศึกษา  ดังนี้












ตาราง แสดงรายละเอียดโครงการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่
ชื่องาน/โครงการ
วัตถุประสงค์
กิจกรรมหลัก
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
จำนวนผู้เรียน/ผู้รับบริการ
งบประมาณ
เป้าหมาย (คน)
ผลการดำเนินงาน
ผลผลิตที่4
ผลผลิตที่5
1.
โครงการจัดและส่งเสริม
1. เพื่อให้ประชาชนทีอยู่นอก
1. ประชาสัมพันธ์รับสมัคร
1. ประชาชนที่อยู่นอกระบบ
ประชาชนที่อยู่นอก




การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระบบโรงเรียนได้รับการศึกษา
นักศึกษา
โรงเรียนได้รับการศึกษา  และ
ระบบโรงเรียน




 นอกระบบ
และมีคุณวุฒิที่สูงขึ้น
2. ปฐมนิเทศนักศึกษา
มีวุฒิที่สูงขึ้นไม่น้อยกว่า
2,500
2,580
3,745,433



2. เพื่อให้ประชาชนที่อยู่นอก
3. จัดการเรียนการสอน
ร้อยละ  75





 จัดการศึกษา
ระบบโรงเรียนมีคุณภาพชีวิตที่
4. วัดผลและประเมินผล






 -ระดับประถมศึกษา
ดีขึ้น
5. นิเทศติดตามผล






-ระดับ  ม.ต้น

6. สรุปผล/รายงาน






- ระดับ  ม.ปลาย







































รวม
 3,745,433






รวมสุทธิ
3,745,433

ตัวชี้วัดคุณภาพ
1.             นักศึกษามีผลการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร/กิจกรรมของสถานศึกษา
2.             นักศึกษามีความสามารถในการแสวงหาความรู้
3.             นักศึกษามีความสามารถในการคิด  วิเคราะห์และตัดสินใจ
4.             นักศึกษามีความสามารถในการเลือกใช้แหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสม
5.             นักศึกษามีทักษะในการสื่อสาร
6.             นักศึกษามีคุณธรรม  จริยธรรม
7.             นักศึกษามีจิตสำนึกสาธารณะ
8.             นักศึกษามีปฏิบัติตนตามระบอบประชาธิปไตย
9.             นักศึกษามีสุขภาพและสุขภาพจิตที่ดี
ผลผลิตของการดำเนินงาน/โครงการเชิงปริมาณและคุณภาพ(เปรียบเทียบกับเป้าหมายของงาน/โครงการที่กำหนดไว้)
ข้อมูลการจัดกิจกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.             ปัจจุบันศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแท่น  จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้แก่นักศึกษา  หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช 2544 และหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551   ซึ่งมีนักศึกษาแยกตามระดับการศึกษา  ดังนี้
 ตาราง แสดงข้อมูลผลการดำเนินงานการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับ
หลักสูตร พุทธศักราช  2544
จำนวนผู้เรียน(คน)
หลักสูตร พุทธศักราช  2551
จำนวนผู้เรียน(คน)

รวมทั้งสิ้น
2/2552
1/2553
2/2552
1/2553
รวม
ประถมศึกษา
367
251
-
17


มัธยมศึกษาตอนต้น
1,213
977
-
276


มัธยมศึกษาตอนปลาย
1,021
850
-
209


รวม
2,601
2,078
-
502

2,580
ปัญหาและอุปสรรค
1.             นักศึกษาไม่เขาร่วมกิจกรรม
2.             นักศึกษาเดินทางไปทำงานต่างถิ่น
แนวทางการดำเนินงานต่อไป
1.              กศน.ตำบล  เป็นสถานที่ทำการเรียนการสอนให้กับนักศึกษาทุกระดับ
2.             กศน.ตำบล  เป็นสถานที่จัดกิจกรรมทุกกิจกรรมของ  กศน.
ผลการดำเนินงานด้านเทคโนโลยี 
1.             จัดหาครุภัณฑ์ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์สำหรับศูนย์การเรียนชุมชน  หรือ  กศน.ตำบล  กศน.ตำบลทุกตำบลมีคอมพิวเตอร์เพื่อใช้การการเรียนการสอน
2.             หนังสือสื่อแบบเรียนสำหรับนักศึกษาการศึกษาขั้นพื้นฐาน

โครงการห้องสมุดประชาชนมีชีวิต
 แสดงรายละเอียดโครงการห้องสมุดประชาชนมีชีวิต
1.              สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ในแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ  พ.ศ.  2553
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  1 การสร้างโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  2 การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  4  การพัฒนาการศึกษาเพื่อความมั่นคงของรัฐ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  7  การปลุกจิตสำนึกและกระตุ้นให้เกิดการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทย
2.               สอดคล้องกับนโยบายเร่งด่วน/นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน  ประจำปีงบประมาณ  พ.ศ.  2553  ของสำนักงาน  กศน.  คือ
1. ดำเนินการส่งเสริมการอ่านให้เป็นวาระแห่งการชาติเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต  ตามมติคณะรัฐมนตรี  เมื่อถึงวันที่ 5 สิงหาคม  2552 
3.               หลักการและเหตุผล
1.นำผลจากการสำรวจและประเมินระดับการรู้หนังสือของประชากรวัยแรงงานผู้ไม่รู้หนังสือในพื้นที่  มาดำเนินการจัดการศึกษาให้ผู้ไม่รู้หนังสือ  โดยใช้หลักสูตรและสื่อที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ของกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่ม
2.เพิ่มศักยภาพครู  กศน. และภาคีเครือข่ายที่ร่วมจัด  ให้มีความรู้  ความสามารถ  และทักษะการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้ไม่รู้หนังสืออย่างมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพ
3.มุ่งเน้นให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมเพื่อการคงสภาพการรู้หนังสือ  และการพัฒนาทักษะการรู้หนังสือให้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
4.พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือทั้งในระดับพื้นที่และส่วนกลางให้มีความเป็นปัจจุบัน  ถูกต้อง  และเป็นระบบเดียวกัน
5.พัฒนาหลักสูตร  สื่อ  แบบเรียนสำหรับผู้ไม่รู้หนังสือให้สอดคล้องกับสภาพของกลุ่มเป้าหมาย




    5.  วัตถุประสงค์
1. เพื่อยกระดับการรู้หนังสือของประชากรวัยแรงงานผู้ไม่รู้หนังสือในพื้นที่  มาดำเนินการจัดการศึกษาให้ผู้ไม่รู้หนังสือ  โดยใช้หลักสูตรและสื่อที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ของกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่ม
2. เพื่อจัดกิจกรรมเพื่อการคงสภาพการรู้หนังสือ  และการพัฒนาทักษะการรู้หนังสือให้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
3.  ส่งเสริมให้ประชาชนรักการอ่าน
6.  ผลการดำเนินงานและรูปแบบการจัดกิจกรรม
1.             จัดกลุ่มอาชีพระยะสั้น
2.             สื่อการเรียนการสอนโดย  การร้องเพลง  คาราโอเกะ
3.             การฝึกเขียนและฝึกอ่านสระ  พยัญชนะ 
4.             หนังสืออ่านเสริม เช่นหนังสือธรรมะ  นวนิยาย  วารสาร  สารคดี เรื่องสั้น


















ตาราง  แสดงรายละเอียดโครงการห้องสมุดประชาชนมีชีวิต

ที่

ชื่องาน/โครงการ

วัตถุประสงค์

กิจกรรมหลัก

ตัวชี้วัดความสำเร็จ
เป้าหมาย
งบประมาณ
เป้าหมาย
ผลการดำเนินงาน
ผลผลิตที่4
ผลผลิตที่5
1.
โครงการห้องสมุดมีชีวิต
1.เพื่อจัดและส่งเสริมให้ผู้ใช้
จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
-จำนวนผู้ใช้บริการเพิ่มขึ้น
-เด็กและเยาวชน





บริการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
- วันเด็กแห่งชาติ
-จำนวนสมาชิกห้องสมุดเพิ่ม
-เด็กโรงเรียนชุมชน





2.เพื่อจัดห้องสมุดประชาชน
- ห้องสมุดเคลื่อนที่
ขึ้น
แท่นประจัน





อำเภอบ้านแท่นให้เป็นแหล่ง
- กระเป๋าหนังสือสู่ชุมชน
-ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ
อำเภอบ้านแท่น





เรียนรู้ตามอัธยาศัยของ
-กิจกรรมBook Star 

350
35,000

124,580


ประชาชนในชุมชน
 สองมือหนูทำได้








-กิจกรรมมินิเธีย เตอร์








-ส่งเสริมการอ่านด้วยโอเกะ















รวม

124,580

รวมสุทธิ

124,580


ตารางแสดงข้อมูลผลการดำเนินงาน
การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย(โครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนมีชีวิต)
ที่
กิจกรรมการพัฒนา
จำนวนผู้รับบริการ(คน)
สถานที่ดำเนินการ
1
กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
-         วันเด็กแห่งชาติ

-         ห้องสมุดเคลื่อนที่
-         กระเป๋าหนังสือสู่ชุมชน
-         กิจกรรมBook Star  สองมือหนูทำได้
-         กิจกรรมมินิเธียเตอร์
-         ส่งเสริมการอ่านด้วยโอเกะ


500
500
1,200
1,000
100
300
200

โรงเรียนชุมชนแท่นประจัน
อบต.บ้านแท่น
พื้นที่ในอำเภอบ้านแท่น
พื้นที่ในอำเภอบ้านแท่น
ห้องสมุดประชาชน
พื้นที่ในอำเภอบ้านแท่น
พื้นที่ในอำเภอบ้านแท่น


ปัญหาและอุปสรรค
                -
แนวทางการดำเนินงานต่อไป
1. โดย  ครูกศน.  จาการสำรวจความของกลุ่มเป้หมาย  การพบกลุ่มและทำกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นกลุ่มตามหมู่บ้านที่เราสำรวจ จำนวนกลุ่มละ 20  คน ส่วนมากเป็นผู้สูงอายุ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ 
2. โดย  ครูศูนย์การเรียนชุมชน  นำหนังสือติดรถไปด้วยออกหมู่บ้านพบกลุ่มและแนะนำให้ยืมหนังสืออ่าน









โครงการโครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
แสดงรายละเอียดโครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
1.              สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ในแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ  พ.ศ.  2553
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  3  การพัฒนาขีดความสามารถของประเทศโดยใช้ความรู้เป็นฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  5  การพัฒนาระบบบริหารจัดการและกฎหมายด้านการศึกษา
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  6  การศึกษาและวิจัยเพื่อให้บริการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ
2.              สอดคล้องกับนโยบายเร่งด่วน/นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน  ประจำปีงบประมาณ  พ.ศ.  2553  ของสำนักงาน  กศน.  คือ
1.              การยกระดับคุณภาพการศึกษาตามอัธยาศัย
2.              เร่งดำเนินการเพื่อรองรับการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง  (พ.ศ. 2552-2561)
3                 การศึกษาต่อเนื่อง
3.               หลักการและเหตุผล
1.             มุ่งจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ  โดยให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษาหลักสูตรระยะสั้น  และการฝึกอบรมที่สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย  โดยมุ่งให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปประโยชน์ได้จริงในชีวิตประจำวัน  ทั้งนี้ให้พัฒนาหลักสูตรที่หลากหลายและทันสมัย  สามารถให้บริการได้อย่างกว้างขวาง
2.             มุ่งจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย  โดยจัดกิจกรรมการศึกษาที่มุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความสามารถในการจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.             มุ่งจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนโดยใช้รูปแบบการฝึกอบรมการเข้าค่าย  การประชุมสัมมนา  การศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้  และรูปแบบอื่นๆที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายนำความรู้ไปพัฒนาสังคมและชุมชน








ที่
ชื่องาน/โครงการ
วัตถุประสงค์
กิจกรรมหลัก
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
เป้าหมาย
งบประมาณ
เป้าหมาย
ผลการดำเนินงาน
ผลผลิตที่4
ผลผลิตที่5
4.
โครงการจัดและส่งเสริม
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้
1. จัดกระบวนการเรียนรู้
1. ประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
100  คน
250  คน
18,003


กระบวนการเรียนรู้เพื่อ
มีความรู้ ความสามารถนำไป
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะ
มีการพัฒนาตนเอง การเรียนรู้พัฒนา





พัฒนาทักษะชีวิต
ประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตใน
หรือความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต
2. ประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรม






สังคมได้อย่างมีความสุข







1. ค่ายนักศึกษาผู้นำ 3D

2. จัดกิจกรรมส่งเสริมให้กลุ่ม
สามารถพัฒนาตนเองในการ





2..ป้องกันปราบปรามและ

เป้าหมายได้นำความรู้ไป
เรียนรู้และเพิ่มทักษะชีวิตของ





โทษภัยของยาเสพติด

พัฒนาตนเอง
ตนเองให้ดำรงอยู่ในสังคม





3.ค่ายทักษะชีวิตสำหรับผู้สูงอายุ


อย่างมีความสุข









รวม
18,003






รวมสุทธิ
18,003
4.ผลการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณ



1.การศึกษาพัฒนาอาชีพ
2.สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ในแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ  พ.ศ.  2553
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  3  การพัฒนาขีดความสามารถของประเทศโดยใช้ความรู้เป็นฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  5  การพัฒนาระบบบริหารจัดการและกฎหมายด้านการศึกษา
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  6  การศึกษาและวิจัยเพื่อให้บริการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ
3.สอดคล้องกับนโยบายเร่งด่วน/นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน  ประจำปีงบประมาณ  พ.ศ.  2553  ของสำนักงาน  กศน.  คือ
3.              การยกระดับคุณภาพการศึกษาตามอัธยาศัย
4.              เร่งดำเนินการเพื่อรองรับการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง  (พ.ศ. 2552-2561)
4                 การศึกษาต่อเนื่อง
4. หลักการและเหตุผล
1.             มุ่งจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ  โดยให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษาหลักสูตรระยะสั้น  และการฝึกอบรมที่สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย  โดยมุ่งให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปประโยชน์ได้จริงในชีวิตประจำวัน  ทั้งนี้ให้พัฒนาหลักสูตรที่หลากหลายและทันสมัย  สามารถให้บริการได้อย่างกว้างขวาง
2.             มุ่งจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย  โดยจัดกิจกรรมการศึกษาที่มุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความสามารถในการจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.             มุ่งจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนโดยใช้รูปแบบการฝึกอบรมการเข้าค่าย  การประชุมสัมมนา  การศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้  และรูปแบบอื่นๆที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายนำความรู้ไปพัฒนาสังคมและชุมชน

ที่
ชื่องาน/โครงการ
วัตถุประสงค์
กิจกรรมหลัก
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
เป้าหมาย
งบประมาณ
เป้าหมาย
ผลการดำเนินงาน
ผลผลิตที่4
ผลผลิตที่5
2.
โครงการจัดและสนับ
1. เพื่อกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และ
1. จัดอบรมวิชาชีพระยะสั้น
1.กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่า
- ประชาชนในพื้นที่




สนุนการศึกษาต่อเนื่อง
ทักษะ  มองเห็นช่องทางใน
 จำนวน 50 ชั่วโมงในหลักสูตร
ร้อยละ  75   มีความรู้ทักษะ
 ทักษะอาชีพ  100
340  คน
221,000


 เพื่อพัฒนาอาชีพ
การประกอบอาชีพ
2.จัดกระบวนการเรียนรู้
มอเห็นช่องทางการประกอบ





- ทักษะอาชีพ
2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิด
เกี่ยวกับการบริหารจัดการกลุ่ม
อาชีพ





1.แปรรูปสมุนไพร
กระบวนการเรียนรู้มีการรวม

2. กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่า





2. คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
กลุ่มเพื่อพัฒนาอาชีพ

ร้อยละ  75   เกิดกระบวนการ





3. ตัดเย็บเสื้อผ้า
3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการ

เรียนรู้มีการการรวมกลุ่ม





4. อาหาร-ขนม
บริหารจัดการกลุ่มที่ดีสามรถ

พัฒนาอาชีพ





5.นวดเพื่อสุขภาพ
 พัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มได้

 3. กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่า








ร้อยละ 75  มีการบริหารจัดการ 








 กลุ่มที่ดีสามารถพัฒนา








 ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มได้


















รวม
221,000






รวมสุทธิ
221,000
4.ผลการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณ




แนวทางการดำเนินงานต่อไป
1.              ให้  กศน.ตำบล  โดย  ครู  ศรช.สำรวจความต้องการของกลุ่มอาชีพ แล้วนำมาวิเคราะห์ 
2.             จัดกิจกรรมตามความต้องการของชุมชน
3.             ประสานวิทยากรให้กับกลุ่มอาชีพตามความต้องการ
การจัดกระบวนการเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.               โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2.              สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ในแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ  พ.ศ.  2553
1.              ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  7  การปุกจิตสำนึกและกระตุ้นให้เกิดการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทย

3.               สอดคล้องกับนโยบายเร่งด่วน/นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน  ประจำปีงบประมาณ  พ.ศ.  2553  ของสำนักงาน  กศน.  คือ
1.              นโยบายด้านการศึกษานอกระบบ
4.               หลักการและเหตุผล
เป็นการจัดการกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้ประชาชนมีความสามารถในการคิด  วิเคราะห์                                          และพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัวให้เป็นไปตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  และใช้กระบวนการการเรียนรู้  ทางการศึกษาในการปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่และรายได้ของประชาชนสำหรับกิจกรรมประกอบด้วยการส่งเสริมการทำเวทีชาวบ้านเพื่อจัดทำแผนชุมชน  การส่งเสริมการเรียนรู้  เช่นหลักสูตรระยะสั้น  การรวงมกลุ่มพัฒนาอาชีพ   การจัดทำศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนและการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง  และการสนับสนุนการดำเนินงานโครงการพระราชดำริฯ
5.               วัตถุประสงค์
1.  ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯมีการบันทึกรายรับ-รายจ่ายซึ่งอยู่ในความดูแลของครูอาสาฯ                            และครู  ศรช.  1  คน/15  ครัวเรือน
2.  เพื่อการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
3.  เพื่อการส่งเสริมการฝึกอบรมอาชีพหลักสูตรระยะสั้น
4.  เพื่อการส่งเสริมการรวมกลุ่มพัฒนาอาชีพ
5. เพื่อการส่งเสริมการจัดทำศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนและการสร้างเครือข่ายการเรียนเศรษฐ์พอเพียงตามโครงการพระราชดำริฯ




ที่

ชื่องาน/โครงการ

วัตถุประสงค์

กิจกรรมหลัก
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
จำนวนผู้รับบริการ(คน)
งบประมาณ
เป้าหมาย
ผลการดำเนินงาน
ผลผลิตที่4
ผลผลิตที่5
5.
จัดและส่งเสริมกระบวน
1. เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้
1. จัดกิจกรรมเวทีชาวบ้าน
1. กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับอบรม
500
500
56,500


การเรียนรู้ตามแนว
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ 
2. จัดอบรมให้ความรู้
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75





ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ความเข้าใจตามแนวปรัชญา
3. ศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้
สามารถนความรู้ตามแนว





มีโครงการย่อย  ดังนี้
เศรษฐกิจพอเพียง

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง





1. โครงการ เดินตามรอย
2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย

ไปใช้ในชีวิตประจำวัน





พ่อ..พอเพียง..เพื่อรากฐาน
สามารถนำความรู้ไปใช้ใน







ชีวิตประชาชนในชุมชม
ชีวิตประจำวัน







ชน  ปี 2553





















รวม
56,500






รวมสุทธิ
56,500
ผลการดำเนินงาน และการใช้จ่ายงบประมาณ


แนวทางการดำเนินงานต่อไป
1. ให้  กศน.ตำบล  โดย  ครู  กศน.และครู  ศรช.สำรวจความต้องการของกลุ่มอาชีพ แล้วนำมาวิเคราะห์ 
2.             จัดกิจกรรมตามความต้องการของชุมชน
3.             ประสานวิทยากรให้กับกลุ่มอาชีพตามความต้องการ

1.การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน
2. สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ในแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ  พ.ศ.  2553
1.ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  5  การพัฒนาระบบบริหารจัดการแลกฎหมายด้านการศึกษา
3. สอดคล้องกับนโยบายเร่งด่วน/นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน  ประจำปีงบประมาณ  พ.ศ.  2553  ของสำนักงาน  กศน.  คือ
                1.การพัฒนาบุคลากร
                2.การนิเทศ กำกับ ติดตาม
                3.โครงสร้างพื้นฐานและอัตรากำลัง
4. หลักการและเหตุผล
1.             มุ่งส่งเสริมการพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากรทุกกลุ่มในสังกัดให้มีสมรรถนะในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ
2.             จัดให้มีแผนพัฒนาบุคลากร กศน. เพื่อเป็นการเตรียมการในการเข้าสู่งานและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
3.             ส่งเสริมให้มีการพัฒนานวัตกรรมสำหรับการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
4.             ส่งเสริมให้บุคลากรในสังกัดพัฒนาตนเองเพื่อเลื่อนตำแหน่งหรือ
5.             เลื่อนวิทยฐานะโดยประเมินจากผลการปฏิบัติงานเป็นฐาน
6.             ส่งเสริม และพัฒนาการนิเทศการศึกษาทั้งระบบ
7.             ส่งเสริมการใช้กระบวนการนิเทศในการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานและจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษานอกระบบ
8.              กำกับ ติดตาม และรายงานผลการดำเนินงานให้ทันกำหนดเวลาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสื่ออื่นๆ ที่เหมาะสม
5.วัตถุประสงค์
1.             ส่งเสริม และพัฒนาการนิเทศการศึกษาทั้งระบบ
2.             ส่งเสริมการใช้กระบวนการนิเทศในการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานและจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษานอกระบบ
3.              กำกับ ติดตาม และรายงานผลการดำเนินงานให้ทันกำหนดเวลาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสื่ออื่นๆ ที่เหมาะสม
ผลการดำเนินงาน
4.  การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน
                1.  จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
                2.  พัฒนาครู  ครู  ศูนย์การเรียนชุมชน  บทบาทหน้าที่และบุคลิกภาพ
                3.  อบรมเพิ่มประสิทธิภาพครู  กศน.  ใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พ.ศ.  2251
                4.  พัฒนาบุคลากรศึกษาดูงานด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
                5.  พัฒนาบุคลากรศึกษาดูงานด้านวิชาการ
                6.  จัดบุคลากรเข้าอบรมการทำข้อสอบ
                7.  เข้าร่วมโครงการพิธีเปิดแหล่งเรียนรู้ราคาถูก:กศน.ตำบล
5.  การประกันคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
                1.  ได้ประเมินผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษา
                2.  การจัดเก็บข้อมูลการปฏิบัติงาน
                3.  ประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร
                4.  ได้รับการความร่วมมือและยอมรับกับเครือข่ายและประชาชนทั่วไป
6.  การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์
                1.  เทียบโอนจากประสบการณ์  เช่นผู้นำชุมชน  อสม.  เกษตกร  การประกอบอาชีพ
                2.  เทียบโอนจากผลการเรียนจากการศึกษาในระบบการศึกษา
นโยบายด้านการศึกษาตามอัธยาศัย
1.การส่งเสริมการการอ่าน
2.สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ในแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ  พ.ศ.  2553
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  1 การสร้างโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  2 การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  3  การพัฒนาขีดความสามารถของประเทศโดยใช้ความรู้เป็นฐาน
3.สอดคล้องกับนโยบายเร่งด่วน/นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน  ประจำปีงบประมาณ  พ.ศ.  2553  ของสำนักงาน  กศน.  คือ
            1.การส่งเสริมการอ่าน
            2.ห้องสมุด3ดี
            3.วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
4.หลักการและเหตุผล
                1) พัฒนาคนไทยให้มีความสามารถในการอ่าน โดยรณรงค์การรู้หนังสือในระดับที่ใช้ได้ในชีวิตประจำวันของกลุ่มเป้าหมาย โดยเน้นประชาชนที่ไม่รู้หนังสือคนต่างภาษาต่างวัฒนธรรม ประชาชนบริเวณชายแดน
2) พัฒนาระดับความสามารถในการอ่านของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้ได้ในระดับอ่านคล่อง เขียนคล่อง และอ่านเชิงคิดวิเคราะห์พื้นฐาน
3) พัฒนาคนไทยให้มีนิสัยรักการอ่าน ใฝ่เรียนใฝ่รู้ โดยการปลูกฝังและสร้างเจนคติให้เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการอ่าน โดยการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมให้ทุกคนมีส่วนรวม และการกำหนดมาตรการจูงใจเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน
4) ส่งเสริมให้มีการสร้างบรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่าน ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย โดยสนับสนุนการพัฒนาแหล่งการอ่านให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง และหลากหลาย รวมทั้งมีความพร้อมในด้านสื่ออุปกรณ์ที่สนับสนุนการอ่าน และการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่านที่หลากหลาย
5)  ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างเครือข่ายเพื่อสร้างบรรยากาศของการอ่านเช่น  ชมรมรักการอ่าน  ครอบครัวรักการอ่าน  สมาคมหรือชมรมส่งเสริมการอ่าน  เป็นต้น
ผลการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณ
1.               การส่งเสริมการการอ่าน
1.             โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ 
  ตั้งแต่เดือนตุลาคม  2552  -เดือนพฤษภาคม  2553
ผลการดำเนินงาน นักเรียน  นักศึกษา ประชาชนทั่วไป  มาใช้บริการ  7  ตำบล  จำนวน  750  คน 
2.  โครงการรักการอ่าน
          งบประมาณ  จำนวน 65,200  บาท เบิกจ่าย  100  % 
ในระหว่างวันที่  2  เมษายน 2553และวันที่ 9 เมษายน  2553  
ผลการดำเนินงาน  ปริมาณ  นักเรียน  นักศึกษา ประชาชนทั่วไป  มาใช้บริการ  7  ตำบล                      ตำบลละ  100  คน  จำนวน  700  คน
     เชิงคุณภาพ  นักเรียน  นักศึกษา  ประชาชนทั่วไปมารับบริการหนังสือห้องสมุดประชาชน  ในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมให้เกิดเรียนรู้  เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต  และยกระดับการศึกษาให้พึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืนและทันต่อสังคมโลกยุดปัจจุบัน  รักการอ่านเฉลี่ยคนละ  1  เล่มต่อเดือน
2.ห้องสมุด  3  D 
                  1.หนังสือดี
                  2.บรรยากาศดี
                  3.บรรณาลักษ์ 
3. วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
                1. จัดค่ายวิทยาศาสตร์  โดยการขอความอนุเคราะห์ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาจังหวัดนครราชสีมามาจัดเข้าค่ายที่  กศน.ตำบลหนองชัยศรี  อำเภอบ้านแท่น  จังหวัดบุรีรัมย์
                2.  จัดโครงการศึกษาดูงานด้านวิทยาศาสตร์  ที่ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาจังหวัดนครราชสีมา
                3.  จัดนิทรรศการวิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา


นโยบายด้านการส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชน
1.กศน.ตำบล/แขวงและแหล่งเรียนรู้ราคาถูก
2. สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ในแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ  พ.ศ.  2553
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  1 การสร้างโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  2 การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  3  การพัฒนาขีดความสามารถของประเทศโดยใช้ความรู้เป็นฐาน
3. สอดคล้องกับนโยบายเร่งด่วน/นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน  ประจำปีงบประมาณ  พ.ศ.  2553  ของสำนักงาน  กศน.  คือ
            1.กศน.ตำบล/แขวง
            2.กศน.ตำบล/แขวงและแหล่งเรียนรู้ราคาถูก
                3.การส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในชุมชน
                4.อาสาสมัคร  กศน.
4.หลักการและเหตุผล
1.จัดตั้ง กศน. ตำบล/แขวง  ให้ครบทุกตำบล/แขวงและแต่งตั้งหัวหน้า กศน. ตำบล/แขวง
2ห้มีคณะกรรมการการบริหารจัดการ  กศน. ตำบล/แขวง  และศูนย์การเรียนชุมชน  โดยจัดให้มีแผนปฏิบัติงานประจำตำบล/แขวง
3.ให้มีการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน กศน. ตำบล/แขวง
4.ส่งเสริมให้ผู้มีจิตอาสา  ตลอดจนผู้รู้  ภูมิปัญญาท้องถิ่น  และข้าราชการบำนาญเข้ามาเป็นอาสาสมัคร กศน. โดยเข้ามามีบทบาทในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน  เป็นผู้สืบสารข้อมูลความรู้ที่เป็นประโยชน์แก่ประชาชนและนำเสนอความต้องการการเรียนรู้และพัฒนาชุมชนโดยดำเนินงานเป็นทีมร่วมกับครูในสังกัด สำนักงาน  กศน.
5. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชนโดยใช้ศูนย์การเรียนชุมชนที่ดำเนินการอยู่แล้วให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ผลการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณ
1.               กศน.ตำบล/แขวงและแหล่งเรียนรู้ราคาถูก

ที่

รายชื่อ  กศน.ตำบลที่เปิด

อำเภอ

วัน/เดือน/ปีที่เปิด

ชื่อประธานในพิธีเปิด
จำนวนผู้มาร่วมกิจกรรม(โดยประมาณ)

หมายเหตุ
1
กศน.ตำบลเสาเดียว
อ.หนอหงส์
24  พ.ย. 2552
นายประกิจ  พลเดช
150  คน

2
กศน.ตำบลไทยสามัคคี
อ.หนอหงส์
2  เม.ย  2553
นายโสภณ  ซารัมย์ 
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
1,500  คน

3
กศน.ตำบลหนองชัยศรี
อ.หนอหงส์
9  เม.ย  2553
นายพรชัย  ศรีสุริโยทิน
1,500  คน

4
กศน.ตำบลสระแก้ว
อ.หนอหงส์
18  เม.ย  2553
นายอำเภอบ้านแท่น
เปิดป้ายเจ้าคณะจังหวั
บุรีรัมย์
1,000  คน

5
กศน.ตำบลเมืองฝ้าย
อ.หนอหงส์
20  พ.ค.  2553
นายรุ่งโรจน์  ทองศรี
500  คน

6
กศน.ตำบลสระทอง
อ.หนอหงส์
3  มิ.ย. 2553
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลสระทอง
100  คน

7
กศน.ตำบลห้วยหิน
อ.หนอหงส์
7  มิ.ย.  2553
นายประกิจ  พลเดช
1,500  คน









2.               อาสาสมัคร  กศน.
1.              โครงการอบรมอาสาสมัคร  กศน.อำเภอบ้านแท่น
งบประมาณ  จำนวน  9,000  บาท  เบิกจ่าย  100  %  ในระหว่างวันที่  29  เมษายน  2553
ผลการดำเนินงา
 เชิงปริมาณ  อาสาสมัคร  กศน.อำเภอบ้านแท่น  หมู่บ้านละ  1  คน  จำนวน  100  คน
เชิงคุณภาพ 
1.              อาสาสมัคร  กศน. ความสามารถและจิตอาสาในการถ่ายทอดความรู้  ประสบการณ์เฉพาะด้าน  ได้มีส่วนร่วมในการส่งเสริม  สนับสนุนการจัดการศึกษาให้แก่ประชาชนในชุมชนได้อย่างทั่วถึง
2.             อาสาสมัคร  กศน.  ช่วยบรรเทาภาวะขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้เฉพาะด้านทางการศึกษาในชุมชน
3. การส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในชุมชน
                1.  แหล่งเรียนรู้ในชุมชน  กศน.ตำบล  ทุกตำบล  เป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน
                จัดกิจกรรมใน  กศน.ตำบล 
1.              การศึกษาขั้นพื้นฐาน
2.             การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ
3.             การศึกษาเพื่อทักษะชีวิต
4.             การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน
5.             จัดกระบวนการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
6.             การศึกษาตามอัธยาศัย
7.             การศึกษาตลอดชีวิต
          4. การพัฒนาบุคลากร
                                1.  อบรมการใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบและการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช  2551 
ระหว่างวันที่  22-24  และ  29-30  มีนาคม  2553  จังหวัดชัยภูมิ
                                2. อบรมภาษาอังกฤษที่ศูนย์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  จังหวัดอุบลราชธานี
                                ระหว่างวันที่  17,18  สิงหาคม  2553
3.อบรมประชาธิปไตย  ระหว่างวันที่  20-21  กันยายน  2553  จังหวัดนครราชสีมา